ความสัมพันธ์ในครอบครัว เครียด ซึมเศร้าในวัยรุ่น ภัยเงียบที่ไม่เงียบ (ไทยรัฐออนไลน์)
โดยเฉพาะเรื่องเครียดและภาวะซึมเศร้า ป256จัดโดสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาสสส.ณัฐยบุญภักดผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็เยาวชและครอบครัแลพญ.วิมลรัตนวันเพ็รองผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทรจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่ได้ร่วมกันพูดคุยในประเด็ความสัมพันธ์ในครอบครัเครียซึมเศร้าในวัยรุ่ภัยเงียบที่ไม่เงียซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาและทางออกจากปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่นอย่างน่าสนใจ จากประสบการณ์ในการทำงานขอพญ.วิมลรัตนพบว่ปัจจุบันวัยรุ่นไทยมีปัญหาซึมเศร้ามากกว่าในอดีตมาโดยในป256สาเหตุของการซึมเศร้ามีการกล่าวถึงทั้งหม84,52ครั้งบนโซเชียลมีเดีสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาคืความสัมพันธ์ซึ่งมีมากถึงร้อยล6รองลงไปคืเรื่องการเรียความรุนแรปากท้อการกลั่นแกล้หน้าที่การงาฯลแต่ทุกอย่างไม่ได้เกิดจากปัจจัยเดียพญ.วิมลรัตนกล่าว ปัญหาทางด้านอารมณ์หรือว่าพฤติกรรมของเด็มีปัจจัอย่าคืBioPsychแลSociaสำหรัBiคืปัจจัยที่ติดตัวตั้งแต่เกิแก้ไม่ไดแล้วก็ไม่จำเป็นว่าพ่อแม่จะเป็นเหมือนกัพี่น้องก็ไม่เหมือนกัอาการซึมเศร้าเกิดจาBiไดเป็นปัจจัยโดยธรรมชาตเกิดมาแล้วมีแนวโน้มเสี่ยงที่จะป่วส่วPsychคืการเลี้ยงดแลSociaคืสังคมหรือสื่ซึ่งมันเกินการควบคุมของเรอยากให้เน้นเรื่องขอPsychมากกว่เราทำให้ครอบครัวเป็นเซฟโซนที่ป้องกันลูกไม่ให้เกิดภาวะซึมเศร้าหรือเกิดอารมณ์ซึมเศร้าไดคุณหมอวิมลรัตนอธิบาย เพื่อให้ครอบครัวเป็นพื้นที่ที่ปลอดภัยและทำให้ความสัมพันธ์ในบ้านดีขึ้พญ.วิมลรัตนแนะนำให้ใช้การสื่อสารเชิงบวกคือ I Message คืแทนที่พ่อแม่ผู้ปกครองหรือครูจะบ่นดุด่าว่ากล่าแต่ให้บอกพฤติกรรมที่ไม่ชอบไม่ใช่บุคลิกหรือพฤติกรรมที่ชอบแทเช่เด็กเล่นมือถือแล้วไม่ทำการบ้านให้เสร็แทนที่จะดุด่าว่ากล่าวหรือบ่นเด็ก็ให้พ่อแม่หรือครูบอกความรู้สึกของตัวเองออกมา รู้สึกดีเป็นห่วรัให้ถ่ายทอดออกไแล้วสุดท้ายก็บอกไปเลยว่อยากให้เกิดอะไรขึ้ไม่ต้องบ่นยาเช่’เล่นมือถือแล้วงานก็ยังไม่เสร็แม่เป็นห่วงนปิดโทรศัพท์มาทำได้แล้วหรือถามว่าจะทำกี่โมพูดสั้นเด็กอาจจะไม่ทแต่ถ้าเราเลิกบ่นและทำอย่างนี้ไปเรื่อยโอกาสที่เราพูดแล้วเด็กจะทำมีมากขึ้เป็นทักษะง่ายเกี่ยวกับการสื่อสาเราทำเอง